Home Product

รวบรวมบทวิเคราะห์ทองจากบลจ.ต่างๆประจำวันที่ 10 เมษายน 2555

MTS

วิเคราะห์ทางเทคนิค

Gold – ในช่วงวันหยุดของอีสเตอร์และบ้านเราเป็นวันหยุดจักรีพอดี ราคาทองคาตลอดวันทรงตัวตามราคาปิดที่ระดับ 1,632 เหรียญ แต่แล้วราคาทองคามาดีดตัวขึ้นในช่วงกลางคืนในตลาดอิเล็กทรอนิกส์ หลังจากที่ตลาดผิดหวังกับตัวเลขการจ้างงาน non-farm payrolls ออกมาเพิ่มขึ้นเพียง 120,000 ตาแหน่ง ซึ่งต่ากว่าที่คาดไว้ว่าจะเพิ่มขึ้นถึง 207,000 ตาแหน่ง และยังส่งผลให้ราคาทองคามีแรงซื้อเข้ามาและปิดตลาดอิเล็กทรอนิกส์ที่ระดับประมาณ 1,638 เหรียญ ก็ส่งผลอย่างต่อเนื่องในเรื่องของการผิดหวังตัวเลขจ้างงาน non-farm payrolls กดดันทาให้ดัชนีดาวโจนส์เมื่อวานนี้ซึ่งเพิ่งเปิดตลาดร่วงลงมา 130.55 จุด ปิดที่ระดับ 12,929.59 จุด ซึ่งเป็นระดับที่สาคัญเนื่องจากหลุดแนวรับสาคัญที่ระดับ 13,000 จุดลงมา รวมทั้ง S&P ก็ดรอปลงมาด้วย มีนักวิเคราะห์หลายๆ ค่ายที่มองว่า มีโอกาสที่จะมี QE ในสหรัฐอเมริกา เนื่องจากคนว่างงานยังไม่ฟื้น ซึ่งเป็นการกลับมาเล่นข่าวเรื่อง QE อีกครี้งเป็นรอบที่ 4 หลังจากที่พูดกันมาพูดกันไปลักษณะเหมือนตอนปัญหาของกรีซในยูโรโซน MTS Gold วิเคราะห์ว่าปัญหา QE น่าจะเป็นตัวที่เล่นข่าวคล้ายๆ กับช่วงกรีซได้อีกหลายรอบทีเดียว เมื่อเช้าวันนี้นายเบอร์นันเกออกมาพูดเล็กน้อย สาระสาคัญเบอร์นันเกบอกว่าภาวะเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกายังไม่พลิกฟื้น และยังไกลเกินกว่าที่จะดีขึ้นหลังจากร่วงไปในช่วง crisis ซึ่งเบอร์นันเกก็ยังไม่พูดถึง QE แต่พูดว่าจะพยายามทาให้เกิดสมดุลในระบบการเงินและการคลัง หลังเบอร์นันเกพูดทองคาแกว่งค่อนข้างมาก แต่แกว่งในช่วง 2 – 3 เหรียญ ตกแล้วขึ้น 2 – 3 ครั้ง ณ ขณะนี้ราคาทองคาอยู่ที่ระดับ 1,651 เหรียญ ทาให้นักวิเคราะห์ในตลาดการเงินโดยทั่วไปมองว่าโอกาสที่เฟดจะใช้มาตรการ QE ค่อนข้างสูงเนื่องจากตลาดหุ้นตกอย่างหนักเมื่อคืนนี้จากการผิดหวังในตัวเลขการจ้างงาน ในเชิงเทคนิคราคาทองคาในระยะสั้นมากเริ่มเป็นลักษณะ rebound กลับและเป็นลักษณะการหยุดตก จึงคาดว่าระดับ 1,620 เหรียญน่าจะเป็นการ bottom out ได้พอสมควร ราคาเริ่มขึ้นเป็น technical rebound โดยมีจุดแนวต้านสาคัญคือระดับ 1,660 เหรียญ และ 1,680 เหรียญตามลาดับ มีโอกาสที่ราคาอาจจะเล่นเรื่อง QE3 และดันขึ้นไปบริเวณ 1,660 – 1,670 เหรียญได้ โดยแนวรับด้านล่างดันขึ้นมาอยู่ที่บริเวณ 1,635 เหรียญ

สรุปMTS Gold มองว่าราคาน่าจะหยุดตกได้ และมี rebound กลับขึ้นมาโดยการเล่นข่าวคนว่างงาน และอาจจะนาไปสู่การมีมาตรการ QE3 ในการประชุมปลายเดือนเมษายนนี้ก็เป็นไปได้ เพราะเรามองว่าถ้าจะออกมาตรการใดๆ ให้มีผลกระตุ้นเศรษฐกิจก่อนการเลือกตั้งซึ่งจะมีขึ้นในปลายปี มาตรการดังกล่าวจะต้องประกาศให้ไม่เกินเดือน 5 เพื่อให้มีผลกระตุ้นเศรษฐกิจก่อนการเลือกตั้ง เพื่อให้นายโอบามาสามารถยึดครองเสียงข้างมากได้ต่อไป ดังนั้นจะเห็นได้ว่าภาพทางเทคนิคในระยะยาว weekly trade ลักษณะเป็น inverted head and shoulder โดยมี net line ที่ระดับ 1,720 เหรียญ ซึ่งถ้าทะลุได้ก็น่าจะไปได้ยาว สรุปได้ว่าในระยะสั้นทองขึ้นเป็น Technical Rebound

Silver - จะเห็นได้ว่า Silver ในรอบนี้ไม่ได้ขึ้นตามทองคา โดยที่ทองคายังเป็นการเกาะติดกับมาตรการ QE โดยตรง ในขณะที่ silver เป็นลักษณะของ demand และ supply โดยที่อินเดียนาเข้าลดลง 27% ก็จะมีผลต่อ silver พอสมควร

คำแนะนำการลงทุน

Daily

เก็งกาไรในภาวะการแกว่งตัวในกรอบ 1,640 – 1,660 เหรียญ ให้ซื้อเมื่อราคาอ่อนตัว และขายบริเวณแนวต้าน เก็งกาไรในภาวการณ์ดีดตัวและแกว่ง

Weekly

เป็นการทยอยเข้าซื้อเพิ่ม จากที่ได้ให้ซื้อเพิ่มมาในวันพฤหัสบดีที่ผ่านมา ถือครองพอร์ท 50%

Monthly

เป็นการซื้อเพิ่มเช่นเดียวกัน เนื่องจากสัญญาณการหยุดตก นักลงทุนระยะยาวจึงเพิ่มพอร์ทการลงทุนได้มาที่ 40 – 50%

Gold Recap

Morning Recap

ราคาทองคาต่างประเทศเปิดที่ระดับ 1,623 เหรียญ/ออนซ์ Gold Futures J12 เปิดที่ 24,070 บาท สมาคมค้าทองแท่งเปิดที่ 24,850 บาท

Night Recap

ราคาทองคาเปิดตลาดในประเทศไทยที่ระดับ 1,624 เหรียญ โดยราคาเคลื่อนตัวอยู่ระหว่าง 1,622 – 1,633 เหรียญ ก่อนกลับมาปิดตลาดที่ 1,630 เหรียญ ในเวลาประเทศไทย

ข่าวที่สำคัญ

-ราคาทองคาดีดตัวกลับมาเมื่อวานนี้จากความผิดหวังในตัวเลข non-farm payrolls ที่ประกาศออกมาเมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา ส่งผลให้เกิดความหวังขึ้นอีกครั้งที่จะมีมาตรการ QE3 โดยสัญญาทองคาตลาด COMEX ส่งมอบเดือนมิถุนายนปรับตัวเพิ่มขึ้น 15.90 เหรียญที่ระดับ 1,646.10 เหรียญ/ออนซ์ มีการเคลื่อนไหวในกรอบ 1,636.70 – 1,648.80 เหรียญ

การรายงานตัวเลข non-farm payroll ที่ออกมาเพิ่มขึ้นเพียง 120,000 ตาแหน่งในเดือนมีนาคม ซึ่งเพิ่มขึ้นน้อยที่สุดจากเดือนตุลาคมที่ผ่านมา และเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนกุมภาพันธ์ที่มีการปรับทบทวนเป็น 240,000 ตาแหน่ง อีกทั้งตัวเลขที่ออกมาก็ต่ากว่าการคาดการณ์ที่ว่าจะเพิ่มขึ้น 207,000 ตาแหน่ง

รายงานจาก Barclays Capital ระบุว่า การรายงานตัวเลขดังกล่าวปฏิเสธไม่ได้ว่าส่งสัญญาณถึงความอ่อนแอของเศรษฐกิจสหรัฐฯ และส่งผลให้เกิดความกังวลเกี่ยวกับตลาดแรงงานของสหรัฐฯ ในขณะที่นักเศรษฐศาสตร์จาก Barclays Capital ไม่เชื่อว่า การรายงานในเรื่องตัวเลข non-farm payrolls เพียงอย่างเดียวจะทาให้เกิดนโยบายทางการเงินเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจในการประชุมเฟดวันที่ 24 เมษายนนี้ ซึ่งโอกาสที่จะมีมาตรการ QE ยังคงมีอยู่ และอาจเกิดจุดเปลี่ยนในการตัดสินใจในการประชุม FOMC ประจาเดือนมิถุนายนตามที่เฟดยังคงจับตาดูตัวเลขเศรษฐกิจที่กาลังจะออกมา

-ราคาทองคาปรับตัวขึ้นในเช้าวันนี้ ซึ่งเป็นการปรับตัวเพิ่มขึ้นติดต่อกันจากเมื่อวานหลังจากที่ตลาดได้รับความผิดหวังจากตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาที่ส่งสัญญาณให้เกิดความหวังเรื่องการที่เฟดจะมีการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติมครั้งใหม่

ราคาทองคาแท่งปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.2% ที่ระดับ 1,643.69 ดอลลาร์/ออนซ์ ณ เวลา 07.27 น. โดยเมื่อวานนี้ราคาทองคาปรับตัวเพิ่มขึ้นมากถึง 1% ที่ระดับ 1,648.5 ดอลลาร์/ออนซ์

ราคาทองคาสหรัฐมีการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยมาอยู่ที่ระดับ 1,645.20 ดอลลาร์/ออนซ์

ผลสารวจจากรอยเตอร์ระบุเมื่อวานนี้ว่า กลุ่มบริษัทหลักๆ ของวอลสตรีทส่วนใหญ่คาดหวังให้ตลาดการจ้างงานของสหรัฐฯ อ่อนแอ และมีการฟื้นตัวได้ช้าเพื่อให้เกิดการบังคับให้เฟดใช้มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติม

นักลงทุนกาลังจับตามองตัวเลข Trade Balance ของจีนที่จะประกาศในวันนี้ หลังจากที่ตัวเลข CPI ของจีนที่ประกาศออกมาเมื่อวานพบว่า จีนมีอัตราเงินเฟ้อที่สูงเกินคาดในเดือนมีนาคม ซึ่งเดิมตัวเลข CPI ของจีนอยู่ที่ระดับ 3.2% คาดการณ์ว่าจะออกมาที่ 3.3% แต่ผลออกมาสูงเกินคาดมาอยู่ที่ระดับ 3.6%

ผู้นาเข้าทองคาที่มากที่สุดของอินเดีย กล่าวเมื่อวานนี้ว่า ดูเหมือนว่าการนาเข้าโลหะเงินเข้าสู่อินเดียจะลดลงถึง 27% ในปีนี้ จากการคาดการณ์ในเรื่องราคาที่ไม่แน่นอน เนื่องจากยังไม่มีการเปลี่ยนแปลงในเรื่องภาษีนาเข้า

CGF

Price Movement

ราคาทองคาในตลาด COMEX เมื่อวันจันทร์ ปิดที่ 1,643.90 USDต่อออนซ์ เพิ่มขึ้น 29.80 USDต่ออออนซ์เมื่อเทียบกับวันพฤหัส โดยมีความเคลื่อนไหวระหว่าง 1,630.22 - 1,647.59 USDต่อออนซ์ ราคาทองคาปรับตัวเพิ่มขึ้นจากแรงสนับสนุนจากค่าเงิน USD อ่อนค่าลง และการรายงานตัวเลขการจ้างงานนอกภาคเกษตรในวันศุกร์เพิ่มขึ้นเพียง 120,000 ตาแหน่งน้อยกว่าคาดทาให้มีความหวังว่าเฟดจะใช้นโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ นอกจากนี้มีการรายงานตัวเลขดัชนีราคาผู้บริโภคของจีนเพิ่มขึ้น 3.6% เพิ่มขึ้นมากกว่าคาด และการประท้วงของผู้ประกอบการเครื่องประดับของอินเดียยุติลง สาหรับในช่วงเช้าวันนี้ราคาเคลื่อนไหวบริเวณ 1,650 USDต่อออนซ์ คาดว่าวันนี้มีแนวรับบริเวณ 1,636 และถัดไปบริเวณ 1,630 ส่วนแนวต้านในวันนี้คาดว่ามีที่บริเวณ 1,657 และถัดไปที่ 1,670 คาดว่าราคา อยู่ในช่อวงของการ rebound นักลงทุนที่เปิด Long ไว้ในช่วงอ่อนตัวบริเวณ 1,612 ทยอยปิดทากาไรบริเวณแนวต้าน ส่วนในระยะสัปดาห์คาดว่ามีแนวต้านบริเวณ 1,680/1,700 และแนวรับบริเวณ 1,630/1,612 กรอบความเคลื่อนไหวในระยะสัปดาห์คาดว่าอยู่ระหว่าง 1,612 – 1,700 USDต่อออนซ์

Recommendations

แนวโน้มระยะสั้น : อยู่ในกรอบ 1,612 – 1,680 Trading ในกรอบ 1,612 – 1,680

แนวโน้มระยะกลาง : อยู่ในกรอบ 1,553 – 1,800 แนะนา รอราคา rebound ขึ้นสู่แนวต้านบริเวณ 1,680/1,700 เพื่อเปิด short โดยมีเป้าหมายทากาไรบริเวณ 1,600/1,553

แนวโน้มระยะยาว : อยู่ในกรอบ 1,553 - 1920 แนะนา ทยอยเปิด Long เมื่อราคาอ่อนตัวบริเวณแนวรับ

Key Points in Precious Market

-ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อราคาทองคา ได้แก่ ค่าเงิน USD อ่อนค่าลง( + ) ราคาน้ามันดิบปรับลดลง ( - ) ตัวเลขการจ้างงานนอกภาคเกษตรของสหรัฐที่เพิ่มขึ้นน้อยกว่าคาด ทาให้มีการคาดหวังในเรื่องการกระตุ้นเศรษฐกิจ ( + ) อัตราเงินเฟ้อของจีนเพิ่มขึ้นเกินคาด ( +/-) ความกังวลในเรื่องหนี้ของยุโรปเมื่อธนาคารกลางยุโรปอัดฉีดเงินให้ธนาคารโปรตุเกสเพิ่มขึ้นมากในเดือนมี.ค. ( + ) สเปนกาลังปรับลดการขาดดุลการคลังอีก 10 พันล้านยูโรเพื่อแก้ไขปัญหาหนี้ ( +/ -)

-ประเด็นที่ต้องติดตาม สต๊อกสินค้าภาคค้าส่งเดือน ก.พ.ในคืนนี้ การขาดดุลงบประมาณของรัฐบาลกลางของสหรัฐในวันพรุ่งนี้ และรมว.คลังจากกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมทั้ง 7 (จี-7) จะหารือกันในวันที่ 19 เม.ย รวมถึง วาระการประชุมรัฐมนตรีคลังและผู้ว่าการธนาคารกลางจากกลุ่มจี-20 ซึ่งมีกาหนดจะประชุมกันในวันที่ 19-20 เม.ย.นี้ในวอชิงตัน

-การรายงานตัวเลขเศรษฐกิจสหรัฐในสัปดาห์นี้ ได้แก่ วันอังคาร ข้อมูลสต็อกสินค้าภาคค้าส่งเดือนก.พ. วันพุธ ราคานาเข้าและส่งออกเดือนมี.ค. งบประมาณของรัฐบาลกลางเดือนมี.ค. เฟด รายงานสรุปภาวะเศรษฐกิจหรือ Beige Book ตัวเลขสต็อกน้ามันรายสัปดาห์ วันพฤหัสบดี ข้อมูลการค้าระหว่างประเทศเดือนก.พ. ดัชนีราคาผู้ผลิต (PPI) เดือนมี.ค. จานวนผู้ขอรับสวัสดิการว่างงานรายสัปดาห์ วันศุกร์ ดัชนีราคาผู้บริโภค (CPI) เดือนมี.ค. ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภคช่วงต้นเดือนเม.ย.

-SPDR ถือทองคาจานวนเท่าเดิม 1,286.62 ตัน